AMD ออกมาเปิดเผยรายละเอียด Ryzen AGESA 1.0.0.6 update ใหม่

สำหรับแฟนๆ AMD คงจะชอบไม่น้อยกับกลุ่มผู้ใช้ Ryzen ที่ออกมาให้ข่าวสารการอัพเดท, ซึ่งมันจะเป็นประโยชน์ไม่น้อยเลยสำหรับคนที่กำลังสร้างคอมขึ้นมาและดึงเอาประสิทธิภาพให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้จาก Ryzen.

ล่าสุดทาง AMD ได้ออกมาเปิดเผยรายละเอียดตัว AGESA 1.0.0.6 หรือเรียกเป็นทางการว่า “AMD Generic Encapsulated System Architecture” เป็นตัวอัพเดทใหม่, เพื่อไปเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ overclocking ให้กับ AMD Ryzen motherboardsและเพิ่มขีดความสามารถการรองรับ memory DIMMs ได้หลากหลายความเร็วเพิ่มมากขึ้นและไป enable/ให้ใช้ได้ IOMMU/ input/output memory management unit/หรือหน่ายการจัดการหน่วยความจำ input/output ซึ่งมีประโยชน์มากกับกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างเครื่องจำลอง/virtual machines ที่เกี่ยวข้องโดยตรงทางด้านกราฟฟิก.

AGESA 1.0.0.6 อัพเดทใหม่นี้-ทางผู้ผลิตเมนบอร์ดสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้แล้วและสำหรับผู้ที่ใช้เมนบอร์ดของค่าย ASUS รุ่น Crosshair VI Hero พร้อมด้วยตัว beta BIOS ตัวล่าสุด. และจะเปิดให้ใชอย่างจริงจังประมาณกลางเดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้, และตัว Q/C BIOS files ใหม่ที่ผ่านการทดสอบแล้วจะเปิดให้ใช้อย่างเป็นทางการอีกทีก็จะขึ้นอยู่กับผู้ผลิตเมนบอร์ดแต่ละเจ้าจะทำการทดสอบและเสร็จสิ้นนานแค่ไหน.

จุดที่น่าสนใจที่สุดสำหรับ AMD AGESA 1.0.0.6 อัพเดทใหม่นี้ก็คือมันสามารถปรับแต่งความเร็ว memory ให้แรงยิ่งขึ้น, สามารถผลักดันให้ได้มากกว่า 3200MHz และจะทำให้ตัวเมนบอร์ดสามารถรองรับขีดความสามารถ ความเร็วของ memory ได้มากถึง 4000MHz โดยที่ไม่ต้องทำ BCLK overclocking.

นอกเหนือไปกว่านั้นทาง AMD ได้เพิ่มค่าตัวเลขเพิ่ม่ขึ้นอีก 26 หน่วยด้วยกันสำหรับการปรับแต่ง memory, รายละเอียดทั้งหมดอยู่ด้านล่างนี้. ค่าตัวเลขใหม่เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ใช้ได้ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นจากทำ overclocking หรือระบบจะทำงานเสถียรมากยิ่งขึ้นหากใช้ความเร็ว memory ที่สูงขึ้น.

ด้านล่างเป็นตารางจากทาง AMD ที่เปิดเผยข้อมูลเชิงลึกสำหรับค่าตัวเลขใหม่ที่ออกมาและมันจะช่วยอะไรกับคุณได้บ้างในด้านประสิทธิภาพและความเสถียร.

Perameter/ค่าตัวเลข Function Values
Memory clocks เพิ่มตัว dividers/ตัวหารสำหรับ memory clocks มากถึง DDR4-4000 โดยไม่ต้องปรับแต่งค่าเดิม/refclk adjustment. อย่าลืมว่า, ค่าที่มากกว่า DDR4-2667 เป็น overclocking. ผลที่ได้อาจจะแตกต่างกันออกไป. 133.33MT/s intervals (2667, 2933, 3067, 3200, 3333, 3466, 3600, 3733, 3866, 4000)
Command rate (CR) จำนวนเวลา, ต่อรอบ, และระหว่างขึ้นอยู่กับ DRAM chip ที่เลือกและคำสั่ง. 2T CR จะเป็นประโยชน์สำหรับทางด้านความเสถียรสำหรับความเร็ว memory clocks ที่สูงๆ, หรือสำหรับ 4-DIMM configurations. 2T, 1T
ProcODT (CPU on-die termination) ค่าต้านทาน/resistance value, หน่วยเป็น ohms/โอม, จะเป็นตัวบ่งบอกว่าสัญญานของ memory signal นั้นเสร็จสิ้น. ค่าที่สูงกว่าย่อมดีกับข้อมูลการถ่ายโอนที่มีปริมาณมากกว่าในด้านความเสถียร. ค่าระหว่าง 60-96 พิสูจน์ได้ว่ามีประโยชน์. Integer values (ohms)/จำนวนเต็ม
tWCL/tWL/tCWL CAS Write Latency/ค่าในการหน่วงเวลาในการ รับ/ส่ง ข้อมูล, หรือจำนวนขของเวลาที่จะต้องเขียนบน open memory bank. WCL/WinCon controller library file ปรกติแล้วจะคิดเท่ากับ CAS หรือ CAS-1. ซึ่งจะทำให้เปลืองเวลากว่าจะเสถียร, และหากค่ายิ่งต่ำถือว่าดีกว่า. Integer values (cycles)/จำนวนเต็มต่อรอบ
tRC Row cycle time, หรือจำนวนเวลาทั้งหมดที่ต้องการประมวลผลต่อรอบ. ค่าที่ต่ำกว่าพิสูจน์ว่าจะมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า, แต่อย่าต่ำกว่า tRP+tRAS สำหรับความเสถียร. Integer values (cycles)/จำนวนเต็มต่อรอบ
tFAW Four activation window, หรือเวลาทั้งหมดต้องเสร็จสิ้นหรือผ่านพ้นก่อนที่ memory banks ใหม่จะเปิดขึ้นมาหลังจากที่ คำสั่งของ four ACTIVATE commands ได้ถูกสั่งงาน. ควรกำหนดค่าให้น้อยที่สุด 4x tRRD_S, แต่ค่า >8x tRRD_S พิสูจน์ได้ว่าจะใช้สำหรับหรือเหมาะกับความเสถียร. Integer values (ns)
tWR Write recovery time, หรือเวลาทั้งหมดต้องเสร็จสิ้นระหว่าง valid write operation และ precharging สำหรับตัวต่อไปหรือ bank. ค่าที่สูงกว่ามักมีประโยชน์หรือเพิ่มความเสถียร, และค่า < 8 จะทำให้ข้อมูลนั้นล่มได้ในการเก็บไว้ใน RAM. Integer values (ns)
CLDO_VDDP แรงดันไฟ/Voltage สำหรับ DDR4 PHY บน SoC. อาจจะรู้สึกขัดๆ, การไปลด VDDP จะไปช่วยเพิ่มความเสถียรได้ดีกว่าไปเพิ่ม CLDO_VDDP. สำหรับคนที่เก่งหรือ overclockers ควรจะรู้ว่าการไปเปลี่ยน CLDO_VDDP สามารถไปแก้ปัญหา memory holes. การเปลี่ยนแปลงเพียงน้อยนิดของ VDDPจะมีผลกระทบอย่างมาก, และค่าของ VDDP ไม่สมควรที่จะตั้งไปมากกว่า VDIMM-0.1V. ค่า reboot ใหม่สมควรทำหากมีการเปลี่ยนค่าแรงดันไฟ/voltage.

Memory hole หรือ Hole ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์หมายถึง พื้นที่ว่างส่วนหนึ่งที่ติดต่อกันในหน่วยความจำ ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนตำแหน่งที่ว่างเหล่านั้นจะถูกจัดสรรโดยระบบปฏิบัติการ หรืออาจหมายถึงตำแหน่งที่ว่างที่ไม่ได้ถูกใช้เป็นหน่วยความจำอย่างแท้จริง

Sidenote/: pre-1.0.0.6 BIOSes หรือค่าครั้งแรกนั้นอาจจะเป็นค่าของ “VDDP” ซึ่งถูกเปลี่ยนค่า/external voltage level ไปยัง CPU VDDP pins. ซึ่งไม่ใช่ค่าเดียวกันกับ CLDO_VDDP ที่อยู่ใน AGESA 1.0.0.6.

Integer values (V)
tRDWR / tWRRD Read-to-write และ write-to-read latency, หรือเวลาที่ควรเสร็จสิ้นก่อนระหว่างการออกคำสั่ง sequential read/write หรือ write/read commands. Integer values (cycles)
tRDRD / tWRWR Read-to-read และ write-to-write latency, หรือเวลาระหว่าง sequential read หรือ write ที่ต้องการrequests (เช่น DIMM-to-DIMM). ค่าที่น้อยกว่าจะส่งเสริมการประมวลผลของ DRAM ให้ได้ผลลัพท์ได้ดีขึ้น, แต่ความเร็ว memory clocks ที่สูงมักจะต้องการเวลาที่เพิ่มขึ้นหรือ relaxed timings. Integer values (cycles)
Geardown Mode สามารถทำให้อุปกรณ์ที่เป็น DRAM device ทำงานได้แม้มีความเร็วเพียงครึ่งเดียว/½ rate clock เพื่อรับคำสั่งหรือแหล่งของ buses. การเปิด/ON เป็นความเร็วปรกติ/default แต่มากกว่า DDR4-2667, แต่ว่าข้่อได้เปรียบระหว่าง ON vs. OFF จะต่างกันขึ้นอยู่กับตัว memory kit แต่ละตัว. การเปิดใช้งานหรือ Enabling โหมด Gear down จะไปเปลี่ยนค่า command rate ที่ใช้อยู่ ณ ปัจจุบัน. On/Off
Rtt ควบคุมหรือปรับเปลี่ยนประสิทธิภาพของค่าความต้านทานของ DRAM ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะ ปรกติ, write, และ park. Nom(inal), WR(ite), and Park integers (ohms)
tMAW Maximum activation window/ค่าคำสั่งที่สูงที่สุด, หรือจำนวนครั้งที่สูงที่สุดของ DRAM row สามารถเปิดสั่งได้ก่อน adjacent memory rows แต่ต้องทำการ refreshed ก่อนเพื่อป้องกันข้อมูล. Integer values (cycles)
tMAC Maximum activate count/จำนวนคำสั่งที่สูงที่สุดหรือกลุ่มจำนวนครั้งของคำสั่งที่ถูกเปิดโดยระบบก่อนที่จะ refresh adjacent row/. จะต้องมีค่าเท่ากับหรือน้อยกว่า tMAW. Integer values (cycles)
tRFC Refresh cycle time, หรือเวลาที่ต้องการในการประมวลผลของ memory เพื่อ read และ re-write information/เขียนข้อมูลอีกครั้งใน DRAM cell เดียวกันเพื่อประโยชน์ทางด้านการเก็บข้อมูล. เวลาจำนวนนี้จะได้มาจากค่าตัวอื่นๆอย่างอัตโนมัติ. Integer values (cycles)
tRFC2 Refresh cycle time สำหรับในโหมด double frequency (2x) เวลาเป็นสองเท่า. เวลาจำนวนนี้จะได้มาจากค่าตัวอื่นๆอย่างอัตโนมัติ. Integer values (cycles)
tRFC4 Refresh cycle time สำหรับในโหมด quad frequency (4x) เวลาเป็นสี่เท่า. เวลาจำนวนนี้จะได้มาจากค่าตัวอื่นๆอย่างอัตโนมัติ. Integer values (cycles)
tRRD_S Activate to activate delay (short), หรือจำนวนรอบหรือ clock cycles ระหว่าง activate commands ในกลุ่มและแหล่งที่แต่ต่างกัน. Integer values (cycles)
tRRD_L Activate to activate delay (long), หรือจำนวนรอบหรือ clock cycles ระหว่าง activate commands จากกลุ่มและแหล่งเดียวกัน. Integer values (cycles)
tWR Write recovery time, หรือเวลาที่ต้องเสร็จสิ้นระหว่าง valid write operation และ precharging จากแหล่งอื่น.ค่าที่สูงกว่าจะเพิ่มความเสถียรได้ดีกว่า Higher values are often better for stability. Integer values (ns)
tWTR_S Write to read delay (short), หรือเวลาระหว่าง write transaction/ถ่ายโอน และ read command/อ่านคำสั่ง ต่างแหล่งหรือกลุ่มกัน. Integer values (cycles)
tWTR_L Write to read delay (long), หรือเวลาระหว่าง write transaction และ read command บนกลุ่มหรือแหล่งเดียวกัน. Integer values (cycles)
tRTP Read to precharge time, จำนวนของรอบหรือ clock cycles ระหว่าง READ command ไปยังแถว/row และ precharge command ไปยังกลุ่มหรือชนิดเดียวกัน. Integer values (cycles)
DRAM Power Down สามารถประหยัดพลังงานของตัวระบบ, แต่ DRAM latency/ดีเลย์จะสูงขึ้น,  โดยการกำหนดให้ DRAM อยู่ในสถานะ-หยุดนิ่งหลังจากที่ไม่ได้เปิดใช้งานเป็นเวลานาน. On/Off

ที่มาเครดิต/Sources:

https://www.overclock3d.net/news/cpu_mainboard/amd_details_their_new_ryzen_agesa_1_0_0_6_update/1

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า