AMD RX 480 Overclocked ทะลุ 1.6Ghz+, พร้อมด้วยการแยกชิ้นให้ดูและรูปที่อยู่ในขั้นตอนสายพานผลิต

AMD RX 480 Overclocked ทะลุ 1.6Ghz+, พร้อมด้วยการแยกชิ้นให้ดูและรูปที่อยู่ในขั้นตอนสายพานผลิต

 

เรามาเข้าประเด็นตามหัวข้อกันเลยดีกว่า เมือไม่กี่วันมานี้มีข่าวเกี่ยวกับ AMD Radeon RX 480 สามารถทำ clock speeds ได้ถึง 1.5Ghz เป็นเพราะทาง AMD มีอาวุธพิเศษ overclocking tool พร้อมด้วยระบบการควบคุมแรงดันไฟใหม่ voltage control. และเมื่อวานข่าวจากซีกฝั่งเอเซียถึงกรณีที่นำการ์ดจอ RX 480 มาแยกเป็นชิ้นๆให้ดูกันแบบใกล้ๆ.

และแหล่งที่มาก็น่าเชื่อถือได้ แถมยังไม่แค่นั้น กลุ่มบุคคลเหล่านี้ยังได้นำ RX 480 มาปรับแต่งแบบจัดเต็มกันในออนไลน์กันสดๆและทำ overclocked จนทะลุ 1607Mhz.

jj

XFX กำลังตระเตรียม AMD Radeon RX 480 รุ่น Reference Cards ที่จะมาพร้อม 1328Mhz ในโหมด Boost Clock Speed

สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งกับบรรดาค่ายโมต่างๆจาก AMD โดยเฉพาะประเภท add-in-board นั้นไม่ค่อยจะพอใจเท่าไหร่กับ RX 480 graphics cards ที่เป็นรุ่น reference ที่มีความเร็วแค่ 1266Mhz boost clock speed. ทาง XFX for เลยจัดให้กับรุ่น 8GB RX 480 reference design ด้วย boost frequency ที่ 1328Mhz แบบไม่ต้องแต่งเติมเพิ่มหลังจากเอามันออกจากกล่องแล้ว.

jj2

รูปด้านบน GPU-Z screencap จากที่เห็นก็สามารถยืนยันแล้วว่ารายละเอียดทางเทคนิคที่มีข่าวออกมาเรื่อยๆตลอดหนึ่งเดือนที่ผ่านมานั้นเป็นจริง RX 480 จะมีจำนวน 36 compute units พร้อมจำนวนแกน 2304 GCN cores. 256bit memory interface connected/ต่อเชื่อมกับ 8Gbps GDDR5 memory ก็จะได้ 256GB/s ที่เป็น memory bandwidth.

jj3

ภาพการชำแหล่ะ AMD Radeon RX 480 Cooler

บทความที่แล้วได้กล่าวไปแล้วกับ reference design cooler สำหรับตัว RX 480 เมื่อ ไม่กี่วันมานี้

jj4

ระบบทำความเย็นออกแบบและมาพร้อมพัดลมที่ทำหน้าที่เป่าอย่างเดียวมีขนาด 75mm ไปยังครีบอลูมิเนียมที่ทำหน้าที่กระจายความร้อน/Aluminum fin heatsink โดยมีแผ่นทองแดงที่ทำหน้าที่เป็น heatplate วางอยู่บน ตัว GPU die, และดันลมออกไปทางด้านหลังของตัวการ์ด แต่ถ้าเป็นจากค่ายโม จะมีพัดลม 2-3 ตัวเลยที่เดียวและจะไม่คลอบปิดมากจนเกินไป

XFX’s Radeon RX 480 Reference Card  ที่มาพร้อมแผนปิดด้านหลัง/Backplate
jj5

ในรุ่น reference RX 480 design นั้นไม่มีแผ่นปิดด้านหลังการ์ดจอมาให้ แต่หากมาจากทางค่ายโม เช่น XFX และ Sapphire นั้นจะมีมาให้พร้อมในรุ่น reference cards. XFX และ Sapphire backplates ออกแบบมาแตกต่างกัน ในส่วนของ XFX นั้นออกแบบตัวแผ่น backplate ปิดเต็มด้านหลังของตัวการ์ดจอ ส่วน Sapphire นั้นออกแบบมาปิดเพียงแค่แผ่น PCB เท่านี้น.

jj6

Sapphire’s solution, นั้นด้านการออกแบบไม่ส่งผลกระทบต่อความกว้างของตัวการ์ดจอ ซึ่งจะเป็นข้อดีกับการทำ crossfire configurations โดยเฉพาะกับทางด้านความร้อน.

บทความที่แล้วทางเราบล่าวเอาไว้ การ์ดจอในรุ่น reference RX 480 cards จะวางจำหน่ายในวันที่ 29 ที่จะถึงนี้ แต่หากคุณรอการ์ดจอแบบ add-in-board จากค่ายโม ก็จะต้องรอไปอีกสักหน่อยแต่เชื่อได้ว่าไม่นานนัก

ทีมาเครดิต

http://wccftech.com/amd-rx-480-overclocked-1600mhz-cooler-detailed/

 

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า