AMD กำลังวางแผนสร้าง ‘Starship’ Processor จำนวนแกน 48 Cores / 96 Threads บน 7nm Node

AMD กำลังวางแผนสร้าง ‘Starship’ Processor จำนวนแกน 48 Cores / 96 Threads บน 7nm Node

AMD มีแนวโน้มที่จะข้าม 10nm process – 7nm Server processor codenamed/รหัสชื่อ ‘Starship’ สำหรับปี 2018

AMD ณ ตอนนี้กำลังง่วนอยู่กับ 14nm based Zen architecture และอีกตัวเด่นที่เป็นของทางด้าน server side ก็จะเป็น 32 core Naples processor. ถึงกระนั้นก็ตาม, ทางบริษัทกำลังวางแผนกับตัว 48 core chip ที่จะนั่งอยู่บน 7nm process – และมีแนวโน้มที่จะยังคงไว้ SMT (Simultaneous Multi Threading) ซึ่งใช้อยู่กับโครงสร้างฐานปัจจุบัน – เรากำลังกล่าวถึง สิ่งที่เป็นไปได้กับจำนวน 96 threads. หากมองกันตามความเป็นจริง Starship นั้นจะนำโครงสร้างฐานใหม่มาใช้ 7nm process ไม่เพียงแต่จะทำให้ประหยัดขึ้นในหลายๆด้านหากเทียบกับ 14nm ที่คู่กับ Zen แต่มันยังมีขีดความสามารถทางด้านพลังงานมากกว่าอีกหลายเท่า.

หากทาง AMD ยังคงยึดแนวทางๆด้านนี้อยู่/philosophy สำหรับแผนการของ Starship, ซึ่งนี้จะเป็นการท้าทาย Intel Xeon และ Xeon Phi chips อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้. Xeon Phi co-processors นั้นจะเป็นตัวเดียวจากทาง Intel ที่จะเหนือกว่า Starship ทางด้านจำนวนแกนหรือ raw core count. และก็เป็นไปได้ที่จะมีราคาที่สูงจากทางด้านสีฟ้า, และนี้คงจะเป็นเหตุผลว่าทำไมทาง AMD ถึงกล้าเข้ามาเล่นด้วยเพราะด้วยตัวของโครงสร้างฐานใหม่นี้จะส่งผลให้มีข้อได้เปรียบทางด้านต้นทุนและการผลิตเพื่อป้อนเข้าตลาด.

ข่าวที่หลุดออกมานี้มาจากทาง WSA และมีความหมายว่า. ทางบริษัทกำลังมีแผนที่จะข้าม 10nm process. เพราะข้อกำหนดและการตกลงในแง่ของธุรกิจนั้นมีเพียง 14nm และ 7nm chips และความจริงอีกอย่างก็คือ ตัว Starship จะเปิดตัวถัดจาก Naples platform เพียงไม่นาน ทั้งคู่กระโดดข้ามฐาน 10nm node.  เพราะหากดูในด้านสัญญาว่าจ้างกันแล้วจะมีตัว 7nm processors อยู่ในรายการ WSA agreement. ซึ่งก็หมายความว่า จะเปิดตัวออกมาแน่นอนก่อนที่สัญญานั้นจะหมดอายุลง ซึ่งก็ไม่น่าเกิน 2018 ถึง 2019.

หากดูกันตามนี้ ก็หมายความว่าทาง AMD กำลังพุ่งเป้าไปที่ 7nm. และที่แน่ๆสำหรับทุกครั้งที่มีการผลิตรุ่นใหม่ๆออกมา มันย่อมที่จะมี processors ที่มีขนาดใหญ่พร้อมกับขนาดที่เล็ก และแน่นอนว่าค่าพลังงานหรือ TDP จะอยู่ระหว่าง 35W และ 180W สำหรับกลุ่ม servers. และก็ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าทาง AMD ยังจะใช้ Zen architecture สำหรับ Starship processor หรือจะเอาของใหม่มาใช้.

ax

แน่นอนว่า ปี 2018 จะได้รู้และเห็นอะไรดีๆออกมาแน่ และในด้านของความเป็นจริงกับตัว process node ที่จะเริ่มมีความหนาแน่นมากขึ้นๆเรื่อย และแน่นอนทางด้านกฎของฟิกสิกข์ก็ด้วย/physics.  หากตัว 7nm FinFET process จะเป็นเหมือนกับตัว nodes ที่ผ่านมา, มันก็คงจะเหมือนกับ 10nm backbone, และ EUV/Extreme ultraviolet lithography/ความยาวคลื่น (ซึ่งจะเป็นไปได้ตั้งแต่ 5nm) ก็จะเป็นผู้เล่นหน้าใหม่แทน. เมื่อนั้น, ในท้ายปี 2018 น่าจะเร็วที่สุดที่เราจะเห็น x86 processor ที่อยู่บน 7nm node เปิดตัวออกมา หรือก็เป็น ปี 2019 สำหรับ 7nm chips.

ที่มาเครดิต

http://wccftech.com/starship-amd-processor-48-cores-7nm/

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า