รายละเอียด AMD ZEN microarchitecture กินไฟน้อยลงแต่ความแรงเพิ่มขึ้น

รายละเอียด AMD  ZEN microarchitecture กินไฟน้อยลงแต่ความแรงเพิ่มขึ้น

 

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมาทาง AMD ได้เปิดรายละเอียดและข้อมูลของ ZEN microarchitecture แบบลึกที่งาน Hot Chips, ซึ่งสรุปเบื้องต้นเอาไว้ว่าสามารถเพิ่มขีดความสามารถทางด้าน IPC/Instructions per cycle/(คำสังของแต่ละรอบ) (per-core performance gains/ประสิทธิภาพที่ได้ต่อแกน) นั้นมีมากขึ้นถึง 40 เปอร์เซนต์, ซึ่งดีกว่าสายพันธ์ “Excavator” microarchitecture ในรุ่นปัจจุบันเลยทีเดียว. ทางบริษัทได้ให้ 3 จุดสำคัญที่ทำให้ประสิทธิภาพนั้นเปลี่ยนแปลงมากขึ้นนี้กับตัว ZEN: better core engine/มีองค์ประกอบสำคัญต่อแกนที่ดีขึ้น, better cache system/หน่วยความจำอย่างหนึง มีความเร็วในการเข้าถึงและการถ่ายโอนข้อมูลที่สูง ทำงานได้ดีและเร็วขึ้น, และใช้พลังงานได้อย่างชาญฉลาดและลดน้อยลง/lower power. ด้วยแนวคิดใหม่กับตัว ZEN, AMD ได้สลัดทิ้งแนวของ “Bulldozer” ออกไปและหันมาเน้นทางแกนแทน/cores, ซึ่งแทนที่ 2 แกนจะลงไปแชร์เพียงสิ่งเดียวกันเพื่อให้ได้หรือสร้างขึ้นมาใหม่อีกสิ่งหนึ่งหรือ “modules,” ทางบริษัทหันกลับไปและออกแบบใหม่ให้ไปเน้นทางด้าน self-sufficient core design/งานออกแบบที่ใส่แนวคิดพึ่งตนเอง .

นอกเหนือไปจากทางด้านแกน/cores แล้ว, ขั้นต่อไปก็คือ ตัว subunit/(องค์ประกอบที่เล็กลงมา) ของ ZEN architecture คือ CPU-Complex (CCX)/(แกนย่อย) ในที่นี้เราหมายถึง ในแต่ละชุดของ CCX จะประกอบไปด้วย 4 แกน/cores และจะแชร์ 8 MB ใน L3 cache. ซึ่งก็ไม่ได้แตกต่างจากทาง Intel architectures รุ่นปัจจุบัน, เพราะตัวแกนไม่ได้แชร์อะไรเพิ่มนอกเหนือไปจาก L3 cache, ซึ่งจะทำให้มันอิสระต่อกัน. สิ่งที่ทำให้ ZEN นั้นมีแกนที่สมบูรณ์และดีกว่า, นอกเหนือไปจากที่แยกอิสระต่อกันในแต่ละแกนแล้ว, สิ่งที่เพิ่มขึ้นมาก็คือตัว integer pipelines/(กระบวนการการประมวลผลที่จะประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนด้วยกัน)

  1. Fetch
  2. Decode and register read
  3. Execute shift and ALU operation, or address calculate, or multiply
  4. Memory access and multiply
  5. Write register.

ทั้งหมดนี้ก็จะได้ one instruction per cycle ซึ่งในที่นี้จะหมายถึง จะกว้างขึ้นนั้นเอง; มีตัวช่วยเพื่มมากขึ้น เช่น micro-Op/(การคำนวณแบบพื้นฐานในส่วนของการเก็บข้อมูลหรือมากกว่าในส่วนที่เป็น) registers/(ใช้เก็บข้อมูลที่ถูกประมวลผลไว้จนกว่าจะ พร้อมที่จะส่งไปคำนวณ หรือส่งไปแสดงผลให้แก่ยูสเซอร์), instruction schedulers/(การเพิ่มขีดความสามารถทางด้านการรวบรวมข้อมูลในระดับเดียวกันเพื่อให้ระบบทำงานได้ดีมากขึ้น); retire/ยกเลิก, load, และ store queues; และ  quad-issue FPU/(มีหน้าที่จัดการกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับเลขทศนิยม หรือตัวเลขที่เป็นเศษส่วน การคำนวณเลขทศนิยมมักเกิดขึ้นเมื่อพีซีรันโปรแกรมพวกกราฟฟิก เช่นโปรแกรม CAD หรือเกมส์ 3 มิติ) ในที่นี้หมายถึง มีมากกว่าหรือเท่ากับสอง FPU/ floating-point unit.

am2am3am4

ทาง AMD ยังได้ปรับปรุงทางด้าน cache systemis/(จะเป็นฮาร์ดแวร์หรือซอร์ฟแวร์ก็ได้ที่มีหน้าที่เก็บข้อมูลเพื่อเผื่อเรียกใช้ในอนาคตได้เร็วยิ่งขึ้น). ขั้นตอนและกระบวนการจะเหมือนกับ pre-Bulldozer AMD architectures, ที่เป็น L3 cache ซึ่งจะถูกแชร์ระหว่าง full-fledged cores/(ชุดแกน), และแต่ละแกนก็จะไปยัง L2 cache.  L1 cache write-back การเขียนบน I/O ซึ่งกระทำโดยตรงกับ cache และเสร็จสิ้นและจะไปยืนยันกับต้นขั้ว, SRAM/(เป็นหน่วยความจำที่ทำงานได้เร็วกว่าแบบ DRAM และไม่ต้องการวงจรไฟฟ้าสำหรับการ Refresh ข้อมูลที่เก็บไว้ภายในหน่วยความจำ) ในที่นี้หมายถึงตัว SRAM ที่สามารถกระทำหรือสร้าง L2 และ L3 caches ให้เร็วยิ่งขึ้น.

am5am6am7

L3 cache SRAM น้ันจะมีค่า bandwidth สูงกว่าถึง 5 เท่าหากเทียบกับ L3 cache ที่มีอยู่ใน AMD architectures รุ่นปัจจุบัน. ส่วน L1 และ L2 caches จะมีค่า bandwidth เพิ่มเป็นสองเทา. ซึ่งจะทำให้การทำงานหรือโหลดระหว่าง cache ไปยัง FPU ทำงานได้เร็วมากขึ้น. ตัวแกนก็จะมี 64 KB ในแต่ละ L1I cache, 32 KB L1D cache; 512 KB สำหรับ L2 cache, และ 8 MB ที่เป็น L3 cache ก็จะแชร์กันละระหว่าง 4 แกนใน CCX.

am8am9am10

ZEN ได้นำเสนอ simultaneous multi-threading (SMT) ให้กับ AMD processors. ส่วนทาง Intel’s SMT ก็จะเรียกว่า HyperThreading Technology. AMD’s SMT ก็จะเหมือนกับทาง Intel ที่แต่ละแกนก็จะมี  2 thread และในแต่ละ thread ก็จะแชร์ทรัพยากรบนแกน.

am11am12am13

กุณแจตัวสุดท้ายก็คือ การลดการใช้พลังงาน/lower-power, และนี้ไม่ใช่เพียงแค่การได้ประโยชน์จากการไปใช้ 14 nm FinFET process เท่านั้น. เพราะทางวิศวกรได้เน้นย้ำไปที่การดึงพลังงานมาใช้ตั้งแต่เริ่มโปรเจกนี้แล้วในตัวของ ZEN core project. ตัว L1 write-back(ข้อดีก็คือลดการดีเลย์), และตัว Op cache ก็จะไปลดการใช้พลังงาน; ส่วนประกอบต่างๆที่อยู่บน ZEN processors นั้นจะมี clock-gating/(การลดขั้นตอนในวงจรไฟฟ้าให้ทำงานเรียบง่ายขึ้น) ที่สูง, ถึงแม้จะไม่มี่ power-gating/(การลดวงจรไฟฟ้าที่เกินความจำเป็นหรือรวมเข้าด้วยกันเพื่อลดการใช้พลังงานหรือการบล๊อคไฟฟ้าในส่วนที่ไม่ใช้).

am14

AMD ได้ขยาย ISA CPU instruction-sets/ส่วนหนึ่งในโครงสร้างฐาน, ด้วย AVX, AVX2, BMI1, BMI2, AES, RDRAND, sMEP, SHA1/SHA256, ADX, CFLUSHopt, XSAVEC/XSAVES/XRSTORS, และ SMAP. ทางบริษัทยังได้แนะนำหรือใส่รูปแบบใหม่ๆไว้ใน AMD-exclusive instruction sets, ซึ่งจะส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานนั้นดียิ่งขึ้น รวมไปถึง CLzero/(เป็นคำสั่งชนิดหนึ่งที่ลบล้างออกไป), และ PTE Coalescing/( ที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน).

ที่มาเครดิต

https://www.techpowerup.com/225271/amd-details-zen-microarchitecture-ipc-gains

Related articles

[HOW TO] เช็กก่อนใช้ไฟล์น่าสงสัยติดไวรัส ฟรี! ด้วยเว็บไซต์ Virustotal

เชื่อว่ามีหลายคนที่เคยประสบพบเจอกับการถูกแฮ็ก Facebook หรืออีเมล โดยมีต้นตอมาจากการโหลดโปรแกรมเถื่อน หรือมีไฟล์ติดไวรัสแถมมาในเครื่อง จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถเช็กไฟล์นั้นได้ และรู้ด้วยว่าไฟล์ติดไวรัสพวกนั้นทำอันตรายอะไรกับคอมเราได้บ้าง วันนี้แอดมีเว็บไซต์เช็กไฟล์ไวรัสมาแนะนำ นั่นคือ www.virustotal.com...

เผยผลทดสอบ AMD Fluid Motion Frames 2 (AFMF) เพิ่มเฟรมเรตในเกมได้สูงถึง 78%

ปัจจุบันฟีเจอร์ที่ช่วยเพิ่มเฟรมเรตในเกม นอกเหนือจากเทคโนโลยีอัปสเกลภาพอย่าง DLSS/FSR แล้ว ที่มาแรงในตอนนี้คือ Frame Generation ซึ่งล่าสุดทาง AMD...

เครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ากระแสสลับอัจฉริยะ MSI – EV Premium/EV Life วางจำหน่ายในประเทศไทยแล้ววันนี้!

MSI แบรนด์ชั้นนำระดับโลกในด้านการเล่นเกมระดับไฮเอนด์ กำลังมีส่วนร่วมในการพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนอย่างจริงจัง ผลิตภัณฑ์ล่าสุด "EV Premium/EV Life" เครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ากระแสสลับอัจฉริยะสำหรับใช้ในบ้าน วางจำหน่ายแล้ววันนี้...

HOW TO: เข้าไบออสง่าย ๆ ไม่ต้องกดคีย์ลัด ด้วย Shortcut บน Windows !!

สำหรับใครที่กดคีย์ลัดเข้าไบออสไม่เคยจะทัน หรือโน้ตบุ๊กบางรุ่นเราก็ไม่รู้ปุ่มคีย์ลัดของมัน วันนี้แอดมีวิธีเข้าไบออสผ่านชอร์ตคัตบน Windows ง่าย ๆ ถ้าเผลอหลุดเข้ามาใน Windows ก็กดชอร์ตคัตไปได้เลยครับ เริ่มแรกบนหน้าเดสก์ท็อป...

Black Myth: Wukong การ์ดจอต้องแรงแค่ไหนถึงเอาอยู่

เปิดตัวกันไปเป็นที่เรียบร้อยสำหรับเกมฟอร์มยักษ์แห่งปีอย่าง Black Myth: Wukong โดยตัวเกมจะมาในแนว RPG ที่ได้แรงบันดาลใจจากวรรณกรรมเรื่อง “ไซอิ๋ว” ที่เราทุกคนน่าจะรู้จักกันเป็นอย่างดี...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า