CPU-Z เวอร์ชั่น 1.79 เพิ่มเครื่องมือการทดสอบใหม่

อาจจะมีหลายคนตอนนี้รู้สึกว่า CPU-Z version 1.79 มีเครื่องมือการทดสอบใหม่/benchmarking tool, มีการให้คะแนนซึ่งจะไม่เหมือนกับ CPU-ID รุ่นที่แล้ว.
การทดสอบประสิทธิภาพของ CPU จะแตกต่างออกไปจากหากเทียบกับ CPU-ID รุ่นที่แล้ว, และยังทำให้ AMD Ryzen CPUs สามารถปฏิบัติการได้ดีกว่า Intel Skylake architecture เทียบกันแบบ clock/clock ถึง 30% ซึ่งไม่พบหรือเห็นกับบททดสอบตัวอื่น, และเครื่องมือการทดสอบตัวที่แล้วอาจจะทำให้ผู้บริโภคเข้าใจอะไรผิดไปบ้าง.
สำหรับผลทดสอบใหม่จาก CPUID ตัวใหม่อาจจะแสดงผลลัพท์ออกมาได้น้อยกว่าเครื่องมือการทดสอบตัวที่แล้ว, โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ Ryzen-based systems เหตุเพราะมีการปรับปรุงและออกแบบมาใหม่. สำหรับเครื่องมือการทดสอบตัวใหม่นี้จะทำงานได้เข้าขามากยิ่งขึ้นกับ CPUs ที่มีค่า threaded สูงๆและจะบอกถึงประสิทธิภาพของ CPUs และขีดความสามารถได้น่าเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้น.
ด้านล่างเป็นตัวอย่างคำถามที่มีต่อ CPUID ตัวใหม่.

Why are the scores much lower than the previous version, and can they be compared/ทำไมคะแนนที่ได้มันต่ำกว่ารุ่นที่แล้วและสามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้หรือไม่ ?

สำหรับการเปิดตัวครั้งแรกของเครื่องมือการทดสอบนั้นเมื่อปี 2015, มีชิปเพียงไม่กี่ตัวเท่านั้นที่เป็นหรือมี 8 cores (เช่น 5960X). หลังจากนั้น Ryzen ก็เปิดตัวออกมา, และดูเหมือนชิปที่เป็น 6 และ 8-cores จะเริ่มแพร่หลายมากยิ่งขึ้น. และยังไม่รวมถึงรุ่นที่เป็น 10, 12 และ 16 cores จะถูกเปิดตัวออกมาอีก. จำนวนแกนที่มากขึ้นย่อมหมายถึง ประสิทะิภาพและผลลัพท์ทางด้านคะแนนของ multi-threaded ก็จะยิ่งสูงขึ้น, และจะทำให้การเปรียบเทียบกับชิปที่มีขีดความสามารถที่น้อยกว่านั้นทำได้ง่ายมากยิ่งขึ้น. สำหรับเครื่องมือการทดสอบใหม่นี้ใช้การออกแบบและแนวความคิดใหม่, คะแนนที่ได้มานั้นจะไม่สามารถไปเปรียบเทียบกับรุ่นเก่าๆได้อีกต่อไป.

Why do the Ryzen performance decrease in comparison to the Intel processors with the new benchmark/ทำไม่ประสิทธิภาพของ Ryzen นั้นด้อยกว่า Intel ในบททดสอบใหม่?

ตั้งแต่บททดสอบเวอร์ชั่นแรกได้เปิดตัวออกมาในปี 2015, ได้ถูกนำไปทดสอบเกี่ยวกับทางด้านสถาปัตยกรรมที่มีอยู่ ณ เวลานั้นๆทั้งหมดเพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพท์ทางด้านคะแนน. ผ่านไปสองปี Ryzen ก็เปิดตัว, และคะแนน – core สำหรับ core และ clock สำหรับ clock – นั้นทำได้ดีกว่าถึง 30% สูงกว่า Intel Skylake. แต่หลังจากมีการวิเคราะห์กันแบบเชิงลึก, รู้สึกว่าตัว code ของ benchmark จะเข้าขาได้กับ Ryzen microarchitecture ได้เป็น่พิเศษแบบแปลกๆ เหตุเพราะอาจจะเกี่ยวเนื่องกับลำดับคำสั่งของ integer instructions. การกระทำลักษณะนี้ทำให้เกิดข้อสงสัย แต่ก็ไม่ใช่เป็นเฉพาะสถาปัตยกรรมตัวนี้เท่านั้น มันเป็นแบบเดียวกันหมด เกิดการดีเลย์ซึ่งเป็นช่วงเดียวกันกับตัวทดสอบรุ่นที่แล้วทีถูกนำไปใช้งาน. หลังจาก Ryzen เปิดตัว, เราได้สังเกตุเห็นว่าตัวหน่วยประวมวลผลหรือ ALUs/arithmetic logic unit ทำงานได้ดีขึ้น. ทางเราได้ทำการทดสอบซอร์ฟแวร์หลายๆตัวและ synthetics benchmarks ก็ไม่เจอสิ่งที่ผิดปรกติแม้แต่ตัวเดียวในด้านประสิทธิภาพทางด้าน boost ที่ผิดปรกติ. สำหรับตัวทดสอบใหม่นี้ที่มีแนวคิดการประมวลผลแบบใหม่จะไม่มีเหตุการ์ณนี้เกิดขึ้นแน่นอน.

What algorithm does the benchmark use, and what instruction set is used/แนวคิดหรือการออกแบบใหม่นี้มีลักษณะเป็นเช่นไรและชุดคำสั่งประเภทไหนที่ถูกนำมาใช้ ?

สำหรับตัวทดสอบใหม่นี้จะแบ่งการประมวลผลเป็นสองประเภทด้วยกัน, ที่จะถูกนำมาใช้เกมส์ทั่วไปเพื่อให้ได้ผลลัพท์ที่มีความละเอียดที่สูง/procedural map. ตัว code ถูกเขียนเป็น C++, และแปลไปเป็นภาษาคอม Visual C++ 2008. ไม่มีคำสั่งพิเศษใดๆมาใช้แต่สำหรับเวอร์ชั่น x64 จะใช้ ปริมาณ scalar SSE/SSE2 instructions เพื่อให้ได้มาซึ่ง floating point operations, ส่วนในเวอร์ชั่น 32-bit จะใช้ legacy x87 instructions, สิ่งที่ได้มาจะทำได้เพียงแค่ครึ่งเดียวของประสิทธิภาพ x64 performance.

When will the benchmark pages be updated with the new benchmark results/แล้วเมื่อไหร่เครื่องมือการทดสอบใหม่นี้จะอัพเดท ?

สำหรับเครื่องมือทดสอบใหม่นี้เปิดตัวออกมาแล้วได้ 10 วัน, และมีการเก็บข้อมูลจากคะแนนต่างๆที่ทำออกมาใหม่และจะโพสออน์ไลน์เร็วๆนี้ภายในอาทิตย์นี้

ที่มาเครดิต/Sources:
https://www.overclock3d.net/news/cpu_mainboard/cpu-z_version_1_79_has_a_new_benchmarking_tool/1

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า