PlayStation VR สามารถใช้กับ PC ได้
อย่างที่มีรายงานจากฝั่งญี่ปุ่นบน Japanese blog, สามารถยืนยันได้แล้วว่า ตัว PlayStation VR สามารถใช้งานได้กับ PC, Mac, Wii U, Xbox One, และเครื่องที่มี HDMI sources.
การเซ็ตอัพนั้นธรรมดามากสำหรับ PlayStation VR เพียงแค่นำตัว headset ติดตั้งเข้าไปเครื่อง external processor/กล่อง processor ของ PlayStation VR และเสียบเข้าไปที่ช่องเสียบสำหรับแว่นวีอาร์, ช่อง HDMI input ทางด้านของกล่องสามารถรองรับสัญญานจากสื่อหลักได้หากเป็น HDMI source, และมันยังสามารถรองรับ non-VR content/หรือสื่อที่ไม่ใชวีอาร์ได้อีกด้วยเช่น PlayStation 4.
แต่มีสิ่งหนึ่งที่อาจจะไม่เข้าท่าไปหน่อยก็คือ ตัว processor box นั้นต้องต่อเข้า PlayStation 4 ผ่านทาง USB ด้วย, เป็นเพราะว่าต้องผ่านการ Sony-specific handshake หรืออาจจะเรียกได้ว่านี้คือ โซนี่เหมือนกัน, คุณไม่สามารถต่อเข้าโดยตรงกับเครื่องที่มี HDMI โดยไม่ผ่าน PlayStation 4 เป็นไปไม่ได้. สรุปก็คือไม่ว่าจะนำ HDMI sources/สื่อหลัก มาจากไหนก็ตามต้องผ่านเครื่อง PlayStation 4 ก่อนและคุณก็ไม่จำเป็นจะต้องติดตั้ง PlayStation Camera เอาไว้ด้วยเพราะไม่มีความจำเป็น.
ตัว processor box นั้นจะส่งสัญญานไปยัง HDMI output เพื่อไปยัง HDTV และภาพก็จะปรากฏบนจอ, ส่วนใน headset หรือแว่นวีอาร์นั้นคุณจะได้ภาพระดับ HDMI เป็นขนาด cinema-size display/จอหนังในโรงภาพยนต์เบื้องหน้าสายตาของคุณ. ระบบ Head-tracking/ระบบตรวจการเคลื่อนไหวของศีรษะยังคงทำงานในบางกรณีที่จำเป็น – คุณสามารถปรับมุมมองของภาพหรือ ‘cinema screen’ โดยการมองไปทั่วๆ. ซึ่งก็หมายความว่าการปรับแต่งนั้นอยู่ภายใจ้กาดูแลของ processor box และตัว headset’s sensor.
ในด้านคุณภาพของภาพนั้น, ดูเหมือนตัว PlayStation VR จะผลิตภาพออกมาแบบ screen-door effect หรือได้ภาพที่นุ่มนวลแทนที่จะกำหนดโดย pixelated หรือ grainy/เม็ดสี. ถึงกระนั้นก็ตามนี้เป็นการลดความละเอียดลงมานั้นเอง/resolution.
PlayStation VR นั้นยังสามารถใช้กับพีซีเหมือนดั่ง VR solution ได้แบบไม่มีข้อติ. การเชื่อมต่อหรือ interfaces กับตัวฮาร์ดแวร์ค่อนข้างที่จะธรรมดามากๆ – เพียงแค่ USB 3.0 และ HDMI 1.4 signal ที่ส่งสัญญานหรือ outputs 1920×1080 ออกมาไม่ว่าจะเป็น 90Hz หรือ 120Hz ก็ได้. แต่ก็ยังคงต้องมีระบบ reverse engineering, ถึงกระนั้นก็ตาม, ด้วยประสิทธิภาพของ USB หรือ protocols ที่มีอยู่แล้วในตัว เพื่อที่จะดักกักเอาไว้และทำ reversed ส่วนระบบ tracking solution/จับความเคลื่อนไหวนั้นอาจจะต้องมีการเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อมารองรับ PlayStation VR’s RGB lighting set-up และตัว headset, DualShock 4 และรองรับ PlayStation Move. และทั้งหมดนี้ก็ต้องนำไปใส่ไว้หรือผสมผสานเข้าไปยังระบบ VR framework ที่มีอยู่ก่อนแล้วจึงจะทำให้ ตัว PC นั้นทำงานเข้ากันได้กับตัวฮาร์ดแวร์.
ทั้งหมดที่กล่าวมา, PlayStation VR สามารถทำงานร่วมกับระบบอื่นๆได้แบบไม่ได้ตั้งใจโดยใช้อุปกรณ์พื้นฐานที่มีอยู่ก่อนแล้ว. HDMI transmitters/ตัวส่งสัญญานสามารถตั้งคำถามกับตัวรับเพื่อเช็ตหรือตรวจดูว่าอุปกรณ์ที่ติดตั้งเข้ามานั้นถูกต้อง (ซึ่งนี้ก็เป็นคำตอบว่าทำไมคุณไม่สามารถติดตั้งตัว VR headset เพิ่มอีกตัวใน PlayStation VR’s external processor), แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับ processing box ที่จะล็อคและไม่ให้ผ่่านกับสื่อที่ไม่ใช่หรือ non-approved source. อยากให้จำตรงนี้เอาไว้ว่า ตัว PlayStation VR นั้นทำเหมือนกับเป็น HDMI input ซึ่งหากว่าตัวสื่อนั้นมาจาก PlayStation 4.
ทั้งหมดนี้, หากจะกล่าวให้ชัดเจนก็คือ การใช้งานนั้นอาจจะค่อนข้างจำกัด, แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าสิ่งที่คุณซื้อมานั้นควรที่จะใช้กับ PlayStation 4 hardware เท่านั้น (แต่อย่าลืม มันคุยกันได้ระหว่าง PlayStation VR กับ PlayStation 4 เพียงแค่ทำให้พีซีเป็นเหมือน PlayStation 4 โดยผ่าน Sony-specific handshake)
ที่มาเครดิต
http://www.guru3d.com/news-story/playstation-vr-can-be-used-on-pc.html
You must be logged in to post a comment.