CPU
|
AMD Ryzen 7 1800X 4GHz |
CPU Cooler
|
Custom Watercooling |
Thermal Compound
|
CoolerMaster Master GEL MAKER NANO |
Mainboard
|
ASRock X370 Taichi |
Memory
|
G.skill FLARE X 3200 MHz 16 GB CL 14 1.35V |
VGA Card
|
PowerColor Red Devil RX580 Goldsample 8 GB |
SSD
|
OCZ VECTOR 180 480 GB |
SSD
|
Team Group T-FORCE CARDEA PCIe M.2 SSD 240 GB |
HDD
|
WD Gold 8 TB |
Power Supply
|
CORSAIR AX 1500i
|
Chassis
|
DimasTech Easy XL |
OS
|
Windows 10 pro |
ชุดเซตในการทดสอบเหมือนเดิมทุกอย่างเปลียนแค่เมนบอร์ดเท่านั้นครับ โดยตัวแรมอย่างที่บอกไปว่าจะเปิดใช้งานตาม XMP ของตัวแรมที่บัส 3200 MHz แต่ถ้าใครอยาก Overclock ผมลองแล้วเมนบอร์ดตัวนี้จะบูธได้ที่บัส 3866 MHz ครับ
บรรยากาศขณะทำการทดสอบ
ก็จบไปแล้วสำหรับการทดสอบในวันนี้ครับ เรียกได้ว่าพลังหยินหยางนั้นสามารถรีดพลังของตัว AMD Ryzen ได้อย่างสบายๆเลยทีเดียว เรื่องของบัสแรมผมอาจจะไม่ได้มีผลการทดสอบมาให้ได้รับชมแต่ต้องบอกว่ามันสามารถวิ่งที่บัสความเร็ว 3600 MHz ได้อย่างนิ่งๆและสามารถบูธได้ที่บัส 3866 MHz เลยทีเดียวและครับถือว่าเป็นการบูธที่ได้บัสแรมสูงมากๆหลังจากทำการอัพเดตใบออสเวอร์ชั่น P2.40 หรือเป็นตัวที่มีโคด AGESA to 1.0.0.6. ที่ทาง AMD ได้ปล่อยออกมาให้อัพเดตแล้วนั้นเองครับ ส่วนเรื่องของข้อเสียที่ผมเจอนั้นต้องพูดเล็กน้อยก็คือถ้าเราทำการบูธที่บัสแรมเกิน 3600 MHz จะเจอโคด Debug ตัว 9F บ่อยมากและตัวเมนบอร์ดนี้ยังไม่มีปุ่มสำหรับเปิดปิดเครื่องหรือปุ่มรีเซตเครื่องมาให้ ทำให้คนที่ซื้อมาทำการ Overclock เล่นนอกเคสหรือบนเทสเบสนั้นต้องหาโลหะมาเป็นสวิตช์ปิดเปิดเครื่องแทนครับ เรื่องของราคาต้องบอกว่าไม่ได้แรงมากอย่างที่คิดครับอยู่ประมาณ 7000 กว่าบาทเท่านั้นครับ สำหรับวันนี้ทางผมก็คงต้องขอตัวลาไปก่อน สวัสดีครับ
You must be logged in to post a comment.